วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2554
สัปดาห์ที่ 16 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
อาทิตย์นี้เป็นอาทิตย์สุดท้ายสิ้นสุดการเรียนการสอน อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอผลงานและ Mood Board เพื่อตรวจและวัดผล และสอบ final test
สัปดาห์ที่ 15 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
อาทิตย์นี้ได้มีการสอบปฎิบัติ Sketchup โจทย์นั้นให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้าตัวใหม่คือ มะกอกดองหวาน จังหวัดกาญจนบุรี โดยให้ทำ Tag หรือ Label เสร็จแล้วให้จัดเก็บไฟล์ไว้ที่ Google 3dWarehouse และได้ทำแบบทดสอบหลังการเรียนใน http://www.clarolinethai.info/
งานสอบ test
สัปดาห์ที่ 14 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
อาทิตย์นี้อาจารย์ได้ทบทวบวิธีการส่งไฟล์งาน และได้ให้นักศึกษาทำการสรุปไฟล์งาน Final Project ส่งในท้ายเทอมเพื่อเป็นคะแนน ใน Google Document รวบรวมไฟล์และจัดแยกเป็นหมวดหมู่ให้เรียบร้อย
สัปดาห์ที่ 13 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
วิดิโอตัวอย่าง ที่อาจารย์นำมาให้ดูในชั่วโมงเรียน โดยการสร้าง ตัวอักษรให้เป็นเหมือนหลอดไฟ Neon
อาทิตย์นี้อาจารย์ได้บอกรายละเอียดการทำงานอย่างคราว ๆและได้สอนการโพส์รูปและคลิป vdo ลงใน Blog ของตัวเอง สอนการดัดแปลงภาพ ที่ก๊อบมาจากในอินเตอร์เน็ต ให้มีความแปลกแตกต่างไปจากเดิม เพื่อมีความสร้างสรรค์ยิ่งขึ้น โดยใช้โปรแกรมต่างๆ อาทิเช่น Photoshop , Illustrator
สัปดาห์ที่ 12 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
อาทิตย์นี้เข้าสู่ขั้นตอนตามกระบวนความคิด 3 ส. เริ่ม ส2. Resume สร้างสมมติฐานให้ปรากฏจากแบบร่างทางความคิดเสมือนจริงเป็นงาน working drawing
ขึ้นรูปกระป๋องใน Skectup
แบบแรก
ปรับปรุงงาน
แบบที่ปรับปรุง
สัปดาห์ที่ 11 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
สัปดาห์ที่ 10 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
สัปดาห์ที่ 9 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
สัปดาห์ที่ 7 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
สัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของของโครงการ Thai Star 2011 นักศึกษาทุกคนต้องจัดนิทรรศการสำหรับกลุ่มของตัวเอง เพื่อนำเสนอผลงานของตัวเอง สำหรับกลุ่มผมอาจารย์ได้ตรวจงานและให้คำแนะนำ ซึ่งผลงานยังไม่ดีพอที่จะผ่านการประเมิน แต่ก็ถือว่าได้รับความรู้และในประสบการณ์ในการทำงานกลุ่มในครั้งนี้ หลังจากที่ตรวจงาน Thai Star 2011 ของทุกกลุ่มแล้ว อาจารย์ให้นักศึกษาสอบกลางภาค ใน clarolinethai.info
สัปดาห์ที่ 6 วิชา ออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
อาจารย์เปิดภาพบรรจุภัณฑ์ต้นแบบต่างๆนาๆ ช่วยให้เกิดไอเดียในการคิดทำบรรจุภัณฑ์ และ ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์
นำเสนอผลงาน
สุดท้ายอาจารย์เดินตรวจงานแต่ละกลุ่ม และ วิจารณ์งานกลุ่ม Thai Star 2011
สัปดาห์ที่ 5 วิชา ออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
นำเสนอข้อมูล ตามกระบวนการออกแบบอธิบายตามกระบวนการออกแบบ
อาทิตย์นี้ตรวจงานโปรเจคตรวจสอบว่าควรไปต่อหรือไม่ และวิจารณ์งานแต่ละกลุ่มให้กลับไปแก้ไข
สัปดาห์ที่ 4 วิชา ออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
5 ส. กับ 3ส.
ได้ดูตัวอย่างหลักคิดเพื่อนำไปใช้พัฒนากับชิ้นงานของกลุ่มตัวเองและเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางานต่อไป
สัปดาห์ที่ 3 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
และอาจารย์จะวิจารณ์อย่างละเอียดแล้วนำกลับไปพัฒนาให้ดีขึ้น ในอาทิตย์ถัดไป
สัปดาห์ที่ 2 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
ในสัปดาห์ที่ 2 ให้นักศึกษารู้จักการใช้ Google Docs และให้ใส่รายละเอียดของกลุ่ม ในไฟล์รายชื่อโดยตั้งชื่อกลุ่มและเริ่มคิดขั้นตอนการทำงานต่างๆในโปรเจคที่1 มีกำหนดทำ1สัปดาห์ สเกทมาส่งและพร้อมพรีเซนต์
สัปดาห์ที่ 1 วิชา การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์
สอนการใช้ GoogleBuzz และสั่งให้จับกลุ่มและคิดทำโปรเจค Thai Star 2011
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554
"ข้าวโพดหวาน"
สืบค้น
ข้อมูลเกี่ยวกับ ข้าวโพดหวานไร่สุวรรณ (ปากช่อง นครราชสีมา)
ส.1 สืบค้น ศึกษาเกี่ยวกับข้าวโพดข้าวหวานรูปแบบต่างๆ
ข้าวโพดหวานไร่สุวรรณ ถ้าคนเคยไปโคราชหรือภาคอีสานบ่อยพอสมควรน่าจะรู้จัก ไร่สุวรรณ เพราะที่นี้ทำการเพาะปลูกและวิจัยข้าวโพดหวานมานาน ข้างหน้าไร่จะมีร้านขายของอยู่ ซึ่งแน่นอนต้องมีข้าวโพดหวานขาย มีทั้งแบบต้มและแบบยังไม่ต้ม รวมทั้งน้ำนมข้าวโพดและสินค้าการเกษตรของบริเวณนั้นขายอยู่ด้วย
ข้อมูลเกี่ยวกับ ข้าวโพดหวานไร่สุวรรณ (ปากช่อง นครราชสีมา)
ส.1 สืบค้น ศึกษาเกี่ยวกับข้าวโพดข้าวหวานรูปแบบต่างๆ
ข้าวโพดหวานไร่สุวรรณ ถ้าคนเคยไปโคราชหรือภาคอีสานบ่อยพอสมควรน่าจะรู้จัก ไร่สุวรรณ เพราะที่นี้ทำการเพาะปลูกและวิจัยข้าวโพดหวานมานาน ข้างหน้าไร่จะมีร้านขายของอยู่ ซึ่งแน่นอนต้องมีข้าวโพดหวานขาย มีทั้งแบบต้มและแบบยังไม่ต้ม รวมทั้งน้ำนมข้าวโพดและสินค้าการเกษตรของบริเวณนั้นขายอยู่ด้วย
ไร่สุวรรณ (ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ)
ถ.มิตรภาพ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
โทร :0 4436 1770-4
ถ.มิตรภาพ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
โทร :0 4436 1770-4
ข้อมูลเกี่ยวกับข้าวโพดหวานไร่สุวรรณ
"ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ" ภายใต้การดูแลของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือ ที่ใครๆ คุ้นเคยกันในชื่อ“ไร่สุวรรณ” ด้วยบรรยากาศเย็นสบาย พร้อมทิวทัศน์ทุ่งข้าวโพด, ดอกทานตะวัน กลางหุบเขา และธรรมชาติโดยรอบที่ยังคงความสมบูรณ์อยู่ ทั้งหมดอยู่บนเนื้อที่กว่า 400 ไร่
ไร่ข้าวโพดหวานสุวรรณ หรือสถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ เป็นหน่วยงานในสังกัดสถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำการวิจัยและพัฒนาการผลิตข้าวโพดข้าวฟ่างและพืชไร่ (Field Crop) แบบครบวงจร ทำการเพาะปลูกและวิจัยข้าวโพดหวานมานาน ข้างหน้าไร่จะมีร้านขายของอยู่ มีข้าวโพดหวานขาย มีทั้งแบบต้มและแบบยังไม่ต้ม รวมทั้งน้ำนมข้าวโพดและสินค้าการเกษตรของบริเวณนั้นขายอยู่ด้วยพื้นที่ของ"ไร่สุวรรณ" เดิมชื่อว่า " ไร่ธนะฟาร์ม" เป็นที่ดินของ ฯพณฯ ท่านจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์ อดีตนายกรัฐมนตรี ใช้สำหรับปลูกข้าวโพดและพืชไร่อื่นๆ รวมทั้งเลี้ยงสัตว์ด้วยวิธีการที่ทันสมัยเพื่อเป็นตัวอย่างของคนในท้องถิ่น และบริเวณใกล้เคียง หลังจากที่ท่านอสัญกรรม เมื่อปี พ.ศ.2506 ทรัพย์สินของท่านได้ตกเป็นของรัฐบาล ต่อมาในปี พ.ศ.2508 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับมอบ"ไร่ธนะฟาร์ม" จากกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง เพื่อจัดตั้งและพัฒนาไร่แห่งนี้ให้เป็นสถานที่สำหรับฝึกงานให้กับนิสิตคณะกสิกรรมและสัตวบาล โดยตั้งชื่อว่า " สถานีฝึกนิสิตเกษตรสุวรรณวาจกกสิกิจ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "สถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ" จวบจนปัจจุบัน
ผลิตผลข้าวโพดหวานของที่นี่จะทยอยปลูกในแปลงทั้งปี และมีจำหน่ายให้ผู้ที่ผ่านไปมาบริเวณด้านหน้าฟาร์ม นอกจากนั้นยังปลูกข้าวโพดไร่เพื่อไปผลิตอาหารสัตว์ มีแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์งา และถั่วเหลือง ทิวทัศน์ในไร่สวยงามมาก เป็นบรรยากาศของทุ่งข้าวโพดอยู่กนลางหุบเขาและ เคยใช้เป็นฉากถ่ายละครหลายเรื่อง
ปัจจุบันมีการจัดกิจกรรมทางด้านทัวร์เกษตร สำหรับหมู่คณะที่สนใจศึกษา เทคโนโลยีการเกษตร เช่น กระบวนการผลิต การเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวาน ฯลฯ และกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เดินป่า ไร่สุวรรณมีพื้นที่ประมาณ 3,000 ไร่ โดยมีแนวเขากั้นเป็นแนวแบ่งระหว่างด้าน หน้าและด้านหลังเขา ซึ่งภูเขายังคงสภาพป่าที่สมบูรณ์ มีสัตว์อาศัยอยู่หลายชนิด เช่น ลิง ไก่ป่า นก กระรอก ฯลฯ
การเข้าชมเป็นหมู่คณะ และต้องการวิทยากรบรรยายให้ความรู้ควรติดต่อล่วงหน้า สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมในวันและเวลาราชการ โทร. 0 4436 1770-4 โทรสาร 0 4436 1108
สถานที่ตั้ง
ตั้งอยู่บริเวณริมถนนมิตรภาพ ช่วงหลัก กม.ที่ 155 -156 บ้านปางอโศก ต.กลางดง อ, ปากช่อง จ.นครราชสีมา ในแนวเส้นรุ้งที่ 14.5 องศาเหนือ และแนวเส้นแวงที่ 101 องศาตะวันออก สูงจากระดับน้ำทะเล 388 เมตร ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั้งปี 1,000 - 1,200 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ 30 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 85% สภาพของดิน เป็นดินเหนียว ร่วนสีน้ำตาลแดง ระบายน้ำได้ดีมาก มีความเป็นกรดปานกลางถึงกรดจัด และมีอินทรีย์วัตถุปานกลาง มีพื้นที่ทั้งสิ้น 2,589 ไร่ ถูกแบ่งเป็น 2 ส่วนโดยมีภูเขา ปางอโศกกั้นกลาง พื้นที่อยู่ทางทิศเหนือของภูเขาปางอโศก ประมาณ 1,389 ไร่ ใช้เพื่อเป็นแปลงทดลองวิจัยที่สามารถให้น้ำชลประทาน ได้ตลอดปี 680 ไร่ แปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ 390 ไร่ โดยใช้น้ำบาดาลในการชลประทาน พื้นที่อาคารสิ่งก่อสร้าง 319 ไร่ ส่วนพื้นที่ด้านทิศใต้ ของภูเขาปางอโศกใช้เป็นพื้นที่สำหรับผลิตเมล็ดพันธุ์ ท่อนพันธุ์ และเป็นที่ตั้งของโรงงานผลิตเมล็ดพันธุ์ มีพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 1,200 ไร่
ติดต่อสถานีวิจัยฯ
เลขที่ 298 หมู่ 1 ถ.มิตรภาพ ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30320
Tel . 0-4436-1770-4 Fax. 0-4436-1108
คลัสเตอร์รูปแบบต่างๆ
ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์จริงที่จะนำไปออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวานชนิดเมล็ด ตรา เทสตี้
ฉลากด้านส่วนประกอบ
ฉลากด้านผู้ผลิต
ฉลากด้านคำแนะนำผู้บริโภค
ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
. การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์
(1) ลักษณะของผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ผลิตภัณฑ์หลักของบริษัทมีสองกลุ่มหลักคือ
1. กลุ่มผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน ซึ่งผลิตและจำหน่ายโดย
1.1 การแปรรูป และผ่านขบวนการเก็บถนอมอาหารด้วยหม้อฆ่าเชื้อด้วยแรงดันไอความร้อน
( Thermal process) ซึ่งบรรจุภัณฑ์ได้แก่ กระป๋อง และ ถุงสูญญากาศ
1.2 การแปรรูปแบบแช่เยือกแข็ง (Frozen) บรรจุถุงพลาสติกทั้งขนาดเล็กเพื่อขายปลีก
และขนาดใหญ่เพื่อใช้กับอุตสาหกรรม
2. กลุ่มผลิตภัณฑ์ผัก และผลไม้สด ซึ่งแบ่งเป็นผักผลไม้ที่ควบคุมสารเคมีตกค้าง และผักเกษตรอินทรีย์
ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดแบ่งตามภูมิศาสตร์ของการตลาดได้ดังนี้
ผลิตภัณฑ์ส่งออกจำหน่ายต่างประเทศ
- ข้าวโพดหวานเมล็ดบรรจุกระป๋อง (CANNED KERNEL SWEET CORN)
- ข้าวโพดหวานครีมบรรจุกระป๋อง (CREAM STYLE CORN)
- ข้าวโพดหวานบรรจุถุงสูญญากาศ (VACUUM PACK)
- ข้าวโพดหวานแช่เยือกแข็ง (FROZEN SWEET CORN)
- ผักและผลไม้สด (FRESH VEGETABLES AND FRUITS )
- ผักสดเกษตรอินทรีย์ (FRESH ORGANIC VEGETABLES)
ผลิตภัณฑ์จำหน่ายในประเทศ
ภายใต้เครื่องหมายการค้า TASTEE ซึ่งได้แก่
- ข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง (CANNED KERNEL SWEET CORN)
- ข้าวโพดหวานฝักสด (FRESH PACK)
- ผักสด (FRESH VEGETABLES )
- เครื่องดื่มน้ำข้าวโพดหวาน (SWEET CORN DRINK)
- เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน ( SEED SWEET CORN )
ปัจจุบันธุรกิจอุตสาหกรรมข้าวโพดหวาน เป็นธุรกิจที่ทำรายได้หลักให้กับบริษัท นอกจากนี้บริษัท ยังมีการปลูก ซื้อและขาย ข้าวโพดอ่อน หน่อไม้ฝรั่งและผักอื่นตามความต้องการของลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ
ขั้นตอนการดำเนินการธุรกิจข้าวโพดหวาน
1. บริษัท ผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน จำกัด จะทำหน้าที่ในการจัดหาสายพันธุ์ข้าวโพดหวาน เพื่อนำมาผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ และทำการผลิตเมล็ดพันธุ์ดังกล่าวขายให้กับบริษัททั้งในและนอกกลุ่มบริษัท
2. ริเวอร์แควจะดำเนินการปลูกข้าวโพดหวานโดยการซื้อเมล็ดพันธุ์จากบริษัท ผลิตภัณฑ์ข้าวโพดหวาน จำกัด นอกจากนี้ริเวอร์แควยังทำการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกข้าวโพดหวานเขตพื้นที่ใกล้เคียงและเขตภาคเหนือ เพื่อเพิ่มปริมาณข้าวโพดหวานสดที่จะเข้าสู่โรงงาน การส่งเสริมอาจจะอยู่ในรูปของการประกันราคาขายและ/หรือ การให้วงเงินเครดิตในการซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดข้าวโพดหวานในประเทศในแต่ละปี อย่างไรก็ตามเนื่องจากมีความต้องการข้าวโพดหวานในการป้อนเข้าสู่โรงงานเป็นจำนวนมาก บริษัทจึงมีการใช้นายหน้าในการจัดหาวัตถุดิบเป็นส่วนใหญ่
3. ข้าวโพดหวานที่ปลูกจนได้ที่แล้ว จะถูกนำส่งมาโรงงานเพื่อทำการแปรรูป ซึ่งจะผ่านการปลอกเปลือก คัดขนาด ยิงเมล็ด ร่อนเมล็ด แล้ว นึ่ง ก่อนที่จะทำการบรรจุกระป๋องในรูปแบบลักษณะต่างๆ ข้าวโพดสดจะไม่ถูกทิ้งไว้นานหลังจากได้ถูกส่งมาที่โรงงาน เนื่องจากคุณภาพของข้าวโพดจะเปลี่ยนไป ถ้ามิได้ทำการผลิตแปรรูปในระยะเวลาอันสั้น
นอกเหนือจากข้าวโพดหวานแล้ว บริษัทยังมีผลิตภัณฑ์ที่เป็นพืชผักสดประเภทต่างๆ ทั้งที่ปลูกเอง และรับซื้อจากเกษตรกร เพื่อนำมาบรรจุแล้วจัดจำหน่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศพืชผักที่จำหน่ายอยู่ได้แก่ ข้าวโพดอ่อน กระเจี๊ยบเขียว หน่อไม้ฝรั่ง และอื่นๆ โดยจะบรรจุในบรรจุภัณฑ์ลักษณะต่างๆ กันไป และน้ำหนักบรรจุที่แตกต่างกันตามความต้องการของลูกค้า
ส.2 สร้างสมมติฐานให้ปรากฎจากแบบร่างทางความคิดเสมือนจริง
I DEA SKECTH
โลโก้ที่ใช้ในงานครั้งแรก
โลโก้ที่ออกแบบใหม่และนำไปใช้
Label ที่ออกแบบ
ทดลองปริ๊นออกมาดู พบปัญหาตัวอักษรจม สีแบล็คกราวมืด
Label ที่นำไปใช้ในงานครั้งแรก
Label ที่ปรับปรุงและนำไปใช้จริง
แบบที่ 1
แบบที่ 2 ที่นำไปใช้
สร้างกระป๋องจาก Sketcup
ใส่ Label ลงในกระป๋อง
แบบที่ปรับปรุง
ส.3 สรุปผลงานจริง
งานจริง
ผลงานจริงที่ปรับปรุง
Mind Mapping
แผนผังการดำเนินงาน 3ส. ใน Final Project Kanchanaburi Sweet corn
Product & Mood board
ส่วนที่เพิ่มเติม
- ทำกล่องเพื่อใส่ผลิตภัณฑ์
- เพิ่มในส่วนของการแพ็คเกจคู่
ทดลองตัดกล่องใส่ผลิตภัณฑ์
ออกแบบกล่องใน illustrator
ภาพคลี่
ออกแบบใส่ Graphic ใน illustrator
บรรจุภัณฑ์จริง
แก้ไขปรับปรุงบรรจุภัณฑ์
ภาพคลี่บรรจุภัณฑ์
ใส่ลาย
บรรจุภัณฑ์จริง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)